สายเทคโนโลยีอุตสาหกรรม

โปรแกรมวิชาอิเล็กทรอนิกส์

จุดประสงค์เฉพาะ

1.เพื่อให้ได้เรียนรู้เทคโนโลยีด้านวิชาการทางอิเล็กทรอนิกส์ เพียงพอที่จะประกอบอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ

2. เพื่อให้สามารถปรับตัวและติดตามในด้านความก้าวหน้า ทางด้าน เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และสามารถนำมาใช้ประโยชน์ ในงานอุตสาหกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ

3. เพื่อให้มีพื้นฐานความรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์เพียงพอที่จะศึกษา วิชาการนี้ต่อไป

4.เพื่อให้สามารถปรับตัวและติดตามในด้านความก้าวหน้าทางด้าน เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ และสามารถนำมาใช้ประโยชน์ ในงานอุตสาหกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ

คุณสมบัติเฉพาะโปรแกรมวิชา

สำเร็จการศึกษาประโยคมัธยมศึกษาตอนปลาย สายวิทยาศาสตร์ หรือสายช่างอุตสาหกรรมประกาศนียบัตรวิชาชีพสาขา วิชาอิเล็กทรอนิกส์หรือไฟฟ้า

โครงสร้างหลักสูตร

หน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 84 หน่วยกิต

โดยมีสัดส่วนหน่วยกิตแต่ละหมวดแต่ละกลุ่มวิชา ดังนี้

1. หมวดวิชาการศึกษาทั่วไป

1.1 กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร

1.2 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์

1.3 กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์

1.4 กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี

2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน

2.1 กลุ่มวิชาเนื้อหา

2.2 กลุ่มวิชาวิทยาการจัดการ

2.3 กลุ่มวิชาปฏิบัติการและฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

2.4 หมวดวิชาเลือกเสรี

การจัดการเรียนการสอน

1. หมวดวิชาการศึกษาทั่วไป

2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน

2.1 กลุ่มวิชาเนื้อหา

บังคับ เรียน

4011301

4011302

4091602

4091603

5572106

5581101

5581104

5581106

5581701

5581703

5582101

5582107

5582601

5583703

เลือก เลือกเรียนรายวิชาจากแขนงต่อไปนี้เพียงแขนงเดียวไม่น้อยกว่า 13 หน่วยกิต

5581202

5581301

5581303

5581501

5582104

5582201

5582205

5582301

5582501

แขนงเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์คอมพิวเตอร์

5583702

5583710

2.2 กลุ่มวิชาวิทยาการจัดการ

5581204

3591105

2.3 กลุ่มวิชาปฏิบัติการและฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

5582801

55828022

 

(ระดับอนุปริญญาตรี)

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ฟิสิกส์ทั่วไป 1

ฟิสิกส์ทั่วไป 2

คณิตศาสตร์ช่างอิเล็กทรอนิกส์ 1

คณิตศาสตร์ช่างอิเล็กทรอนิกส์ 2

การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า 2

เขียนแบบอิเล็กทรอนิกส์

อิเล็กทรอนิกส์ 1

ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส์ 1

คอมพิวเตอร์ 1

ดิจิตอลอิเล็กทรอนิกส์ 1

อิเล็กทรอนิกส์ 2

ปฏิบัติการอิล็กทรอนิกส์ 2

เครื่องมือวัดอิเล็กทรอนิกส์ 1

ไมโครโปรเซสเซอร์ 1

 

เครื่องรับวิทยุ

เครื่องรับโทรทัศน์ 1

เครื่องรับโทรทัศน์ 2

เครื่องรับวิทยุ

เทคโนโลยีแผ่นวงจรพิมพ์

เทคโนโลยีเครื่องเสียง

การจัดและบริการสตูดิโอและโสตทัศนูปกรณ์

เทคโนโลยีวีดีโอ 1

สายส่งและสายอากาศ 1

 

โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1

การเขียนโปรแกรมสำเร็จรูป (ภาษาซี)

 

ความรู้เบื้อต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ

เศรษฐศาสตร์ทั่วไป

 

การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพอิเล็กทรอนิกส์ 1

การฝึกประสบการณ์วิชาชีพอิเล็กทรอนิกส์

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

18 หน่วยกิต

6 หน่วยกิต

3 หน่วยกิต

3 หน่วยกิต

6 หน่วยกิต

60 หน่วยกิต

49 หน่วยกิต

6 หน่วยกิต

5 หน่วยกิต

6 หน่วยกิต

 

18 หน่วยกิต

60 หน่วยกิต

49 หน่วยกิต

36 หน่วยกิต

3(2-2)

3(2-2)

3(3-0)

3(3-0)

3(2-2)

2(1-2)

3(2-2)

1(0-3)

2(1-2)

3(2-2)

3(2-2)

1(0-3)

3(2-2)

3(2-2)

 

3(2-2)

3(2-2)

3(2-2)

3(2-2)

2(1-2)

3(2-2)

2(1-2)

3(2-2)

2(1-2)

 

2(1-2)

3(2-2)

 

3(3-0)

3(3-0)

 

2(90)

3(250)

 


สายเทคโนโลยีอุตสาหกรรม

ปรแกรมวิชาอิเล็กทรอนิกส์

จุดประสงค์เฉพาะ

เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้และประสบการณ์ สามารถประกอบอาชีพด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมได้ อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีคุณสมบัติดังนี้

1. เพื่อให้ปฏิบัติงานด้านการควบคุมและการบริหาร งานอุตสาหกรรม ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

2. เพื่อให้พัฒนาเทคนิคและวิธีการดำเนินงานด้านการผลิต งานอุตสาหกรรมได้เป็นอย่างดี

3. เพื่อให้ทำหน้าที่ประสานงานระหว่างผู้บังคับบัญชา วิศวกรและผู้ปฏิบัติงานอุตสาหกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ

4. เพื่อให้เกิดวิสัยทัศน์ในการเลือกและใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย และเหมาะสมกับงานด้านอุตสาหกรรม

5. เพื่อให้ความสามารถในด้านการจัดการ และการดำเนินงานด้านเทคโนโลยีได้

6. เพื่อพัฒนาเจตคติ ความศรัทธา และมีคุณธรรม ในอาชีพธุรกิจอุตสาหกรรม

คุณสมบัติเฉพาะโปรแกรมวิชา

1. ต้องจบการศึกษาระดับอนุปริญญาหรือเทียบเท่า ในแขนงวิชาใดแขนงหนึ่ง ที่มีพื้นฐานทางช่าง ในระดับอนุปริญญาตรงกับแขนงวิชาที่เข้าศึกษา

2. เฉพาะแขนนงวิชาเทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม ต้องมีพื้นฐานทางอุตสาหกรรมในระดับอนุปริญญา

โครงสร้างหลักสูตร

หน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 80 หน่วยกิต โดยมีสัดส่วนหน่วยกิตแต่ละหมวดแต่ละกลุ่มวิชา ดังนี้

1. หมวดวิชาการศึกษาทั่วไป

1.1 กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร

1.2 กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์

1.3 กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์

1.4 กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์

2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน

2.1 กลุ่มวิชาเนื้อหา

2.2 กลุ่มวิชาวิทยาการจัดการ

2.3 กลุ่มวิชาปฏิบัติการและฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

3. หมวดวิชาเลือกเสรี

การจัดการเรียนการสอน

1. หมวดวิชาการศึกษาทั่วไป

2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน

2.1 กลุ่มวิชาเนื้อหา

บังคับ

ก. บังคับ

5503101

5513502

5513502

ข. บังคับเลือก

5503102

5504902

5573101

5583402

 

ระดับปริญญาตรี (หลังอนุปริญญา)

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เรียน

คอมพิวเตอร์ในงานอุตสาหกรรม

วัสดุศาสตร์

การบรีหารคุณภาพในงานอุตสาหกรรม

เลือกเรียนจากรายวิชาต่อไปนี้ไม่น้อยกว่า

ภาษาอังกฤษในงานอุตสาหกรรม

สัมมนางานเทคโนโลยีอุตสาหกรรม

เทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม

เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

18 หน่วยกิต

3 หน่วยกิต

6 หน่วยกิต

3 หรือ 6 หน่วยกิต

6 หรือ 3 หน่วยกิต

56 หน่วยกิต

42 หน่วยกิต

9 หน่วยกิต

5 หน่วยกิต

6 หน่วยกิต

 

18 หน่วยกิต

56 หน่วยกิต

42 หน่วยกิต

12 หน่วยกิต

8 หน่วยกิต

2(1-2)

3(3-0)

3(3-0)

4 หน่วยกิต

2(2-0)

2(1-2)

2(1-2)

3(3-0)

ข้อกำหนดเฉพาะ

ในกรณีที่เคยเรียนรายวิชาบังคับหรือเทียบเท่ามาแล้ว ในระดับอนุปริญญาหรือเทียบเท่าให้ เรียนรายวิชาเลือกแทน

เลือก ให้เลือกเรียนแขนงใดแขนงหนึ่งต่อไปนี้ ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต

แขนงเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์

เลือก

5582704

5583101

5583103

5583104

5583105

5583106

5583301

5583401

5583406

5583407

5583408

 

 

เลือกเรียน จากรายวิชาต่อไปนี้ไม่น้อยกว่า

ดิจิตอลอิเล็กทรอนิกส์ 2

การออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์

การวิเคราะห์วงจรอิเล็กทรอนิกส์

สนามแม่เหล็กไฟฟ้า

ทฤษฎีโครงข่ายไฟฟ้า

หลักการเครื่องจักรกลไฟฟ้า

เทคโนโลยีวีดีโอ 2

เพาเวอร์อิเล็กทรอนิกส์

อิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม

วิศวกรรมควบคุม

 

24 หน่วยกิต

3(2-2)

3(2-2)

3(3-0)

3(3-0)

3(3-0)

3(2-2)

3(2-2)

3(2-2)

3(2-2)

3(3-0)

 

 


หน้าแรก HOME